Apr 28, 2011

การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาครั้งที่ 5



คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
และวิทยาเขตภูเก็ต ร่วมกับเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย
จัดการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาครั้งที่ 5
ในวันที่ 20-21 ตุลาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต

ขอเรียนเชิญอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษา เข้าร่วมการประชุม และหรือนำเสนอผลงาน
สามารถส่งบทคัดย่อเพื่อการพิจารณา ตั้งแต่วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2554

ติดตามรายละเอียดได้ที่ http://huso.pn.psu.ac.th/JSNsite/

Apr 21, 2011

ขอขอบพระคุณในน้ำใจและความมีจิตเมตตาช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติชาวญี่ปุ่น

チェンマイ大学人文学部は、2011年3月14-31日の間に、東日本大震災の被災者の方々に対する義捐金、総額50,000バーツを頂きいたしました。

4月7日、日本研究センターは、人文学部とともに、在チェンマイ日本国総領事館を訪れ、50,000バーツすべての義捐金を柴田和夫総領事にお渡しいたしました。
チェンマイ大学人文学部にかわり、ご支援をいただいた方々に、心から感謝の意を申し上げます。
また、今回の大震災において、たいへんな被害を受けた東北をはじめとする東日本の一日も早い復興をお祈り申し上げます。

Apr 20, 2011

ขอเชิญร่วม"พิธีรำลึกและไว้อาลัยผู้วายชนม์จากภัยพิบัติแผ่นดินไหวและสึนามิประเทศญี่ปุ่น"

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ
สมาคมนักเรียนเก่าญี่ปุ่นฯ ภาคเหนือ และหน่วยงานต่างๆ ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วม
"พิธีรำลึกและไว้อาลัยผู้วายชนม์จากภัยพิบัติแผ่นดินไหวและสีนามิประเทศญี่ปุ่น"  
ในวันพฤหัสบดี ที่ 28 เมษายน 2554 เวลา 19.00-20.00 น.
ณ ลานอนุสาวรีย์สามกษัตริย์



นอกจากนี้ ยังได้จำหน่ายเสื้อเพื่อหารายได้สมทบทุนช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น



สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ส.น.ญ.(น)

Apr 8, 2011

ญี่ปุ่นยืนยันเรื่องความปลอดภัยสำหรับนักศึกษาไทยที่กำลังจะไปเรียนต่อที่ประเทศญี่ปุ่น

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับแจ้งจากสถานกงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ เรื่อง การยืนยันความปลอดภัยสำหรับนักศึกษาไทยที่กำลังจะไปศึกษาต่อที่ประเทศญี่ปุ่น ดังรายละเอียดตามเอกสารแนบต่อไปนี้

หรือสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เวปไซต์ของสถานกงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ คลิ๊ก
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบโดยทั่วกัน

ประธานศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ให้การต้อนรับคุณอิโนะอุเอะ ซึโยชิ และคุณอิชิอิ โนบุยูกิ จากหอการค้าญี่ปุ่น-กรุงเทพฯ

8 เมษายน 2554 เวลา 10.00 น.

อาจารย์สรัญญา คงจิตต์ ประธานศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา และ ดร.เซ็นโจ นาไค รองประธานฯ ให้การต้อนรับคุณอิโนะอุเอะ ซึโยชิ และคุณอิชิอิ โนบุยูกิ จากหอการค้าญี่ปุ่น-กรุงเทพฯ ที่ได้เข้าพบเพื่อกล่าวอำลาก่อนเดินทางกลับประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับแนะนำคุณอิชิอิ โนบุยูกิ ซึ่งจะมาปฏิบัติหน้าที่แทนตนต่อไป
พร้อมกันนี้ คุณอิโนะอุเอะ ซึโยชิ ได้บริจาคหนังสือจำนวน 15 เล่มให้แก่ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ เพื่อให้บริการแก่ผู้ที่สนใจต่อไป

Apr 7, 2011

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มอบเงินจากการรับบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยชาวญี่่ปุ่น แก่สถานกงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่

ในวันที่ 07 เมษายน 2554 เวลา 10.30 น.
ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รองศาสตราจารย์โรม จิรานุกรมคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ พร้อมด้วยประธานศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ผู้บริหารคณะฯ และประธานสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ได้เข้าพบคุณคะซึโอะ ชิบะตะ กงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ เพื่อมอบเงินจำนวน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) จากการรับบริจาคเพื่อนำไปสมทบทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวและสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่นต่อไป 

2011年度(平成23年度) JPO派遣候補者選考試験


2011年度(平成23年度)

JPO派遣候補者選考試験
募集要綱
1. 応募資格


(1)年齢 2011年4月1日現在、35歳以下であること
(生年月日が1975年4月2日以降)

(2)経歴 外務省として派遣可能な国際機関に関連する分野における大学院修士課程を修了し(2012年6月までに修了見込みを含む)、当該分野に関連する職種において応募時点で2年以上の職務経験を有すること(アルバイト、在学中のインターン等は職歴とみなしません)

(3)語学 英語又は仏語のうち少なくとも1カ国語で職務遂行が可能であること。

(4)将来にわたり国際機関で働く意思を有すること

(5)日本国籍を有すること

(注1)
既に国際機関専門職の正規職員の方(コンサルタント契約、6ヶ月以内の短期雇用経験者を除く)又はJPOとしての経験を有する方は応募資格がありません。

(注2)
外務省として派遣可能な国際機関については、「JPO派遣制度の御案内」を参照のこと

2. 応募方法

(1)提出書類 和文及び英文の応募用紙各1部

和文応募用紙はこちら(Word形式)  英文応募用紙はこちら(Word形式)


(2)提出先 外務省国際機関人事センター

〒100-8919 東京都千代田区霞が関2-2-1

(3)提出方法 郵送などにより送付のこと(FAX・電子メール・直接持参不可)

(4)提出期間 2011年4月11日(月)~2011年6月3日(金)(17:00必着)

(注1)
インターネットが使用できない環境にあり、応募用紙が入手できない場合には、外務省国際機関人事センター又は日本政府代表部に連絡してください。(「6.問い合わせ先」を参照のこと)

(注2)
提出された応募用紙は、理由の如何を問わず返却しません。

(注3)
提出書類は必ず一括して郵送してください。後からの追加提出や提出後の応募書類の差し替えは理由の如何を問わず受け付けません。

(注4)
合否通知等は電子メールで行いますので、応募用紙には、必ず電子メールアドレスを記入してください。

(注5)
応募書類の受領後、6月10日(金)までに外務省国際機関人事センターから受領確認通知を各応募者に電子メールで送付します。

(注6)
応募書類提出後に住所等連絡先に変更が生じた場合には、必ず外務省国際機関人事センターまで連絡してください。

(注7)
第1次審査合格者には、第2次審査(面接審査)当日に、応募用紙の提出締切り日(2011年6月3日(金))までの過去1年以内に受験したTOEFL又はTEFのスコア又は国連英検特A級を合格した際の第1次及び第2次試験結果通知書の「原本」の提出を求めます。なお、第2次審査(面接審査)当日にスコア又は結果通知書の「原本」を提出できない場合には、2011年8月末必着で「原本」を郵送にて外務省国際機関人事センターに提出することを条件に、語学スコア等の「写し」の提出も可とします。但し、8月末までに「原本」が提出されない場合や「原本」と「写し」の内容が一致しない場合などは、受験資格を満たしていないものとして扱います。

3. 選考方法

(1)第1次審査 書面審査 
応募書類を基に行います。

(2)第2次審査 面接審査 (受験地は東京のみ)
2011年7月下旬~8月中旬(予定)

面接は主として日本語で行いますが、受験語を用いて職務を行う能力を判定するため、一部受験語による応答等を取り入れます。

4. 合格発表

第1次審査及び第2次審査の合否結果は、各応募者宛に電子メールにて通知します。

第2次審査を合格した者に対しては、合格通知とともに、外務省で内定した派遣先国際機関を通知します。

合格発表予定時期 第1次審査:7月中旬

第2次審査:9月中旬~下旬

5. 応募に際しての注意事項 (派遣先国際機関 ・ 専門分野について)

(1)外務省では、国連をはじめとする様々な国際機関や専門分野に派遣できる人材を求めています。具体的には、開発、人権、人道、教育、保健、平和構築等の分野に加え、IT、ロジスティクス、調達、法務、財務、広報(渉外関係)、人事、モニタリング評価(M&E)、環境、工学、理学、農学、薬学、建築等の分野のバックグラウンドを有する方からの応募を期待しています。

(2)JPO派遣制度は、日本政府が派遣に係る経費を負担して実施していますが、派遣のために一人あたり年間1千万を超える経費がかかります。外務省では、戦略的にJPO派遣制度を運用するため、各JPO候補者の派遣先国際機関について、各人の経歴、専門分野、資質、希望等に加え、当該国際機関においてJPOとして実績を残せるかどうか、将来的な残留の可能性等について、場合によっては国際機関の見解も聴取し、総合的に勘案した上で内定します。応募者の希望と異なる国際機関へ内定することがありますが、当該国際機関が受入れを拒否した場合を除き、変更はいたしません。

(3)正式な派遣先国際機関は、該当する国際機関から正式にポストをオファーされた段階で決定します。国際機関側からのポストオファーは、経歴、専門性、資質、希望等を踏まえた上で行われます。このポストオファーを断った場合は、合格が取り消され、JPO派遣候補者としての資格を失うこととなります。

(4)派遣先国際機関によっては、JPO受入れに際して年齢制限を設けている機関もあるため、その機関を希望していても派遣できない場合があります。

(5)2011年度試験の合格者の派遣開始時期は、2012年4月1日~2013年3月31日までですが、2012年12月中に赴任することが推奨されます。この間にJPOとしての勤務を開始できない場合には、JPO派遣候補者の資格を失うことがあります。また、一部のJPOについては、2011年度中(~2012年3月31日)に派遣を開始する場合があり得ます(詳細については、面接審査の際に説明する予定)。

6. 問い合わせ先

外務省国際機関人事センター
〒100-8919 東京都千代田区霞が関2-2-1
TEL:+81-(0)3-3580-3311(内線2841)
FAX:+81-(0)3-5501-8437
jinji-center@mofa-irc.go.jp

国際連合日本政府代表部
TEL:+1-212-521-1528 <jinji-center@dn.mofa.go.jp>
在ジュネーブ国際機関日本政府代表部
TEL:+41-22-717-3111
在ウィーン国際機関日本政府代表部
TEL:+43-1-260-6337

from http://www.mofa-irc.go.jp/boshu/jpo_haken_boshuyoko2011.htm

International Essay Contest 2011




The Goi Peace Foundation ขอเชิญผู้ที่สนใจ อายุไม่เกิน 25 ปี ส่งความเรียง
ในหัวข้อ "MY STORY OF INSPIRATION"  ชิงเงินรางวัลกว่าหนึ่งแสนเยน
ติดตามรายละเอียด ได้ที่ English และ 日本語

THEME: "MY STORY OF INSPIRATION"

Many people experience inner change that motivates them to create a better world.
Please share your story of inspiration that has affected your life and changed you to make a change in the world.
GUIDELINES:
1. Essays may be submitted by anyone up to 25 years old (as of June 30, 2011) in one of the following age categories:

a) Children (ages up to 14) b) Youth (ages 15 - 25)

2. Essays must be 800 words or less in English, French, Spanish or German; or 1600 characters or less in Japanese, typed or printed.

3. Essays must have a cover page indicating (1) category (Children or Youth) (2) essay title

(3) your name (4) address (5) phone number (6) e-mail (7) nationality

(8) age as of June 30, 2011 (9) gender (10) school name (if applicable) (11) word count.

Teachers and youth directors may submit a collection of essays from their class or group. Please enclose a list of participants' names and the name and contact information of the submitting teacher or director.

* Entries missing any of the above information will not be considered.

4. Entries may be submitted by postal mail or online.

* IMPORTANT: To send your essay online, you must go to the online registration page at http://www.goipeace.or.jp/ and follow the required steps.

5. Essays must be original and unpublished.

6. Essays must be written by one person. Co-authored essays are not accepted.

7. Copyright of the essays entered will be assigned to the organizers.
DEADLINE:
Entries must be received by June 30, 2011.